หลายปีผ่านไป ผมรู้สึกว่าวิธีการเลี้ยงลูกของผมจะลำบ ากมากขึ้นทุกวัน จนกระทั้งวันหนึ่ง ผมได้อ่านจดหมายเปิดผนึกฉบับหนึ่งที่โพสต์ลงในบอร์ดของมหาวิทยาลัยนานกิง จดหมายจากผู้ใช้นานว่า “พ่อผู้ขมขื่น” เขียนถึงลูกเขาที่เป็นนักศึกษาในมหาวิทยาลัยนั้น แต่ไม่ได้เปิดเผยชื่อลูกจดหมายฉบับนี้มีคุณค่ามากในสายตาของผม
ถึงลูกรักของพ่อ แม้ลูกจะทำให้พ่อทุ กข์ใจเกินบรรยาย แต่ลูกก็ยังเป็นลูกของพ่ออยู่วันยังค่ำหลังจากที่ลูกสามารถสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้แล้ว อาจเป็นเพียงคนเดียวของตระกูลเราในรอบหลายชั่วอายุคนที่ทำได้สำเร็จ หลังจากนั้น พ่อชักไม่แน่ใจว่าตกลงใครเป็นพ่อและใครเป็นลูกกันแน่

พ่อช่วยแบ กสัมภ าร ะไปส่งลูกถึงหอพัก ช่วยกางมุ้ง ปูที่นอน ซื้อกับข้าวกับปลา ต้องสอนแม้กระทั่งวิธีบีบยาสีฟันออกจากหลอด ทั้งหลายทั้งปวง ดูเหมือนว่ามันเป็นหน้าที่ที่พ่อสมควรต้องทำให้ ไม่ได้ยินคำว่าขอบคุณสักคำ
จากลูกตั้งแต่ต้นจนจบ รู้สึกด้วยซ้ำว่าเป็นเกียรติอันยิ่งใหญ่ที่พ่อผู้ด้อยความสามารถคนนี้มีโอกาสได้รับใช้ลูกทูนหัว ที่บัดนี้ได้เป็นนักศึกษาผู้ทรงเกียรติไปแล้วปีแรกทั้งปี ที่บ้านได้รับจดหมายจากลูกสามฉบับ
ข้อความรวมกันแล้วอาจยาวกว่าข้อความในโทรเลขหนึ่งฉบับสักหน่อย ข้อความย่นย่อ ลายมือหวัดอ่านย าก มีแต่คำว่า “เงิน” นี่ตั้งใจเขียนได้ชัดเจนที่สุด

พอขึ้นปีที่สอง จดหมายมาแบบถี่ๆ ล้วนขอเงินเพิ่ม ลีลาการเร่งเร้ าให้ส่งเงิน ข้อความที่เรียกร้องความเห็นใจ รับรู้ได้ถึงว่า หากเรียนจบแล้ว ลูกสามารถไปยึดอาชีพเป็นพวกเจ้าหน้าที่เร่งรัดห นี้สินได้เยี่ยมแน่นอน
แต่สิ่งที่ทำให้พ่อเจ็บปวดที่สุดนั้น มาจากการที่ลูกอาจหาญถึงขั้นปล อ มแปลงตัวเลขจำนวนเงินที่ต้องจ่ายค่าหน่วยกิตของมหาวิทยาลัย ไม่คิดว่าลูกจะใช้วิธีนี้ มาหล อกล วงเงินทองจากผู้เป็นพ่อแม่ที่ให้กำเนิด เลี้ยงดู รักใคร่ลูกมาตลอด เพียงเพื่ออย ากได้เงินเพิ่ม ไปเที่ยวผั บ เที่ยวบ าร์และร้องค าร าโ อเ ก ะ….
คิดถึงเรื่องนี้เมื่อไหร่ก็เจ็บปวดเมื่อนั้น นอนไม่หลับ จนกลายเป็นโ ร คซึ มเศร้ า สาเหตุก็มาจากลูก คนที่พ่อเลี้ยงดูด้วยมือจนเติบใหญ่ แต่กลับกลายเป็นคนแปล กหน้าในร่างของนักศึกษา ขอภาวนาในใจว่า
นอกจากวิชาความรู้ต่างๆที่ลูกจะเรียนรู้จากสถาบันการศึกษาแล้ว ลูกจะกรุณาพัฒนาจิตใจให้เป็นคนซื่อสัตย์และกตัญญูรู้คุณด้วยก็จะเป็นเรื่องที่ดีที่สุด…….
หลังจากได้อ่านจดหมายฉบับนี้แล้ว ผมรู้สึกว่าผมยังต้องเดินหน้าทำตามนโยบายในการดูแลลูกตามที่ตั้งใจไว้แต่แรก แม้จะรู้ว่ามันค่อนข้างลำบ ากในสังคมของเรา
มีอยู่วันหนึ่ง เพื่อนสมัยเรียนที่ย้ายไปออสเตรเลียกลับมาเยี่ยมบ้าน มีโอกาสได้นั่งคุยกัน เขาเล่าว่า คนออสเตรเลียนอกจากเชื่อถือในพระเจ้าแล้ว อีกสิ่งหนึ่งที่พวกเขาเชื่อมั่นก็คือ
วิธีการเลี้ยงลูกแบบ “จะรวยแค่ไหน ก็ต้องเลี้ยงลูกแบบจน” พวกเขาเชื่อว่า เด็กที่เติบโตขึ้นมาภายใต้การดูแลปกป้องมากไปของพ่อแม่ เมื่อโตแล้ว จะไม่มีปั ญญ าที่สามารถยืนอยู่บนลำแข้งตัวเอง และก็จะไม่มีวันสำนึกบุญคุณคนอื่น แม้กระทั่งพ่อแม่ตนก็ตาม
วันถัดมาเรามีโอกาสออกไปทำธุระด้วยกัน เจอฝนระหว่างทาง เขาเห็นเด็กน้อยถูกห่อหุ้มด้วยผ้านวมอย่างหนากลมไปหมดทั้งตัว จนดูคล้าย “ลูกบอลยัดนุ่น” เขาบอกว่า “เด็กควรจะใส่เสื้อผ้าน้อยกว่าผู้ใหญ่หน่อย” เขาเล่าว่าในออสเตรเลีย
แม้หน้าหนาวก็จะไม่เห็นเด็กที่ถูกห่อแบบ “ลูกบอลยัดนุ่น” เหมือนที่เห็น หรือในวันแดดจ้า แม้เด็กจะนั่งอยู่ในรถเข็นเด็ก แต่คนเป็นแม่ก็จะทำใจแข็ง ไม่ยอมดึงที่บังแดดออกมากันแดดให้ลูก เด็กที่วิ่งเล่นแล้วหกล้มเอง พ่อแม่ก็จะยืนดูเฉยๆ
ให้ลูกลุกขึ้นมาด้วยตัวเขาเอง ต่างๆนาๆล้วนพยายามให้ลูกฝึกช่วยตัวเองและอ ดท นให้มากที่สุดธรรมเนียมของครอบครัวชาวเอเชียอย่างพวกเรา หลักการที่ยึดติดมานานกับนโยบายที่ว่า “จะย ากจนแค่ไหน ก็ไม่ยอมให้ลูกต้องลำบ าก”

สงสัยจะถึงเวลาต้องทบทวนกันใหม่ได้แล้วการเลี้ยงลูกของสัตว์ทั้งหลายในโลกนี้ ตอนลูกยังเล็กและอ่อนแอ บางชนิดอมลูกไว้ในปาก บางชนิดซุ กลูกไว้ใต้ปีก กลัวลูกๆจะไม่ปล อดภั ย
แต่พอลูกเริ่มโตได้ที่แล้ว พวกเขาจะไล่ลูกออกไปอย่างไร้เยื่อใย ให้ลูกไปเผชิญกับโลกภายนอกเอง ไปฝึกวิทยายุทธเอง ไปเผชิญปั ญห าและม ร สุ มทุ กรูปแบบ แล้วชีวิตจะไม่เจอทางตัน เห็นหรือยังว่าแม้แต่สัตว์ทั้งหลายก็ยังรู้ถึงหลักการที่ว่า “โอ๋ลูกจ นไม่ลืมหูลืมตา ก็คือการฆ่ าลูกแบบเลื อดเย็ น”
“จะรวยแค่ไหน ก็ต้องเลี้ยงลูกแบบจ น” ด้วยวิธีนี้จะบั งคั บให้ลูกๆทั้งหลายรู้จักยืนอยู่บนลำแข้ งตัวเอง และรู้จักสำนึกและตอบแทนบุญคุณคนเป็นพ่อเป็นแม่สิ่งหนึ่งที่ไม่ควรลืม
ถึงแม้คุณจะห่วงด้วยวิธีปกป้องหรือโอ๋ลูกขนาดไหนก็ตาม คุณคงไม่มีปั ญญาตามไปวุ่ นว ายหรือดูแลพวกเขาในช่วงครึ่งหลังของชีวิตเขา เพราะตอนนั้นคงได้เวลาที่คุณจะได้หลับยาวไปแล้ว
อย่าสอนลูกให้เป็น..”คนรวย” แต่สอนให้..เป็นคนมี “ความสุข” เพราะเมื่อเขาเติบโตขึ้น เขาจะตัดสินคนอื่นด้วย “คุณค่า” ไม่ใช่..”ราคา”
ขอบคุณข้อมูลคุณขจรศักดิ์