จากเด็กเลี้ยงควายไถนา สู่ผู้ว่าฯ ดร.ปรีชา เรืองจันทร์ ใช้ชีวิตพอเพียง สุดติดดิน

สวัสดีค่ะวันนี้แอดมินจะพาทุกคนไปย้อนเวลาไปดูชีวิตของท่านผู้ว่าตงฉินที่มีชื่อว่าดร.ปรีชา เรืองจันทร์ ซึ่งเป็นอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดมาหลายจังหวัดโดยหลังจากที่เกษียณอายุราชการแล้วก็หันหลังกลับเข้าสู่วิถีชีวิตดั้งเดิม

นั่นก็คือวิถีชีวิตแบบชาวเกษตรกรและเดินตามรอยเบื้องยุคลบาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งในสมัยเด็กของผู้ว่านั้นเป็นเพียงแค่

เด็กบ้านนอกที่เกิดในบ้านหลังกอไผ่อำเภอบางมูลนากจังหวัดพิจิตรโดยตระกูลของเขานั้นเป็นตระกูลชาวนาไม่เคยมีใครนั้นรับราชการเลยสักคนเดินในตอนนั้นตัวเขาก็เรียนอยู่ในโรงเรียนวัดทั้งโรงเรียนก็มีครูอยู่คนเดียว

พ่อก็มีหลังคาโล่งนั่งพื้นไม่มีเก้าอี้แต่อย่างใดเด็กก็เรียนแบบตามมีตามเกิดเท่านั้น ซึ่งการศึกษาของข้าวในสมัยเด็กน้อยไม่ได้แบ่งตามห้องอย่างเช่น

ปัจจุบันและเครื่องมือการสอนและมีแค่กระดาษฉนวนนั่งเรียนอยู่กับพื้นทั้งโรงเรียนมีนักเรียนอยู่ที่ประมาณ 2 ถึง 300 คนและมีการสลับการเรียนแต่พอเข้าปอ 4 ก็เริ่มมีสมุดใช้โดยคุณปรีชาได้เปิดเผยว่า

ผมเป็นคนเรียนเก่ง ได้รับความไว้วางใจจากครู ได้เกรด 4 ตลอด เมื่อขึ้นชั้น ป.2 คุณครูก็ให้ไปเป็นผู้ช่วยสอน ป.1 ขึ้นชั้น ป.3 ก็มาช่วยสอน ป.1-ป.2 ครูจะบอกว่า “เอ้า…เด็กชายปรีชามาช่วยครูสอนหน่อยสิ เราเป็นเด็กไม่คิดอะไร…ก็ไป”

นอกจากสอนหนังสือแล้ว ก็ยังต้องคอยคุมให้เป็นระเบียบเรียบร้อยด้วย แล้วหลังจากที่เขาเรียนจบชั้นปอ 4 ได้ไปไถนาเลี้ยงวัวเลี้ยงควายซึ่งในตอนนั้นก็มีคนแนะนำว่าไอ้นี่มันชอบอ่านหนังสือที่กรุงเทพฯมีเรียนสอบเทียบ

โดยในตอนนั้นตัวเขาก็ไม่ได้คิดอะไรเพราะฐานะทางบ้านมันค่อนข้างยากจนโดยการทำนาปรังกับนาปีที่บ้านก็มีแต่หนี้กะหนี้ได้เงินมาเท่าไหร่ก็ใช้หนี้เสียหมด

และในบางครั้งที่ต้องออกไปจับจ่ายก็ต้องใช้วิธีการเดินทางเท่านั้นในตลาดจากบ้านนั้นห่างออกไปประมาณ 15 กิโล ถ้าหากรวมระยะการเดินทางไปกลับและเราก็จะอยู่ที่ 30 กิโลซึ่งเป็นการเดินทางที่ดูทั้งนั้น

ทั้งคนทั้งรัฐทุ่งรัฐหนองกันโดยในสมัยก่อนนั้นยังไม่มีถนนกว่าจะมีถนนก็ตอนที่ตัวเองนั้นเป็นปลัดอำเภอแล้ว แต่ละสุดท้ายวันหนึ่งเขาก็วัดดวงของตัวเองเข้าสู่กรุงเทพและเรียนกศนสามารถต่อสอบติดจุฬาได้เป็นที่สำเร็จและหาเงิน

โดยการล้างชามและทำอาชีพนักร้องจึงได้รับฉายาว่า “ไอ้รุ่ง พระลอ” ก่อนเริ่มอาชีพราชการ ตัวนี้ตอนแรกก็จบ มศ. 3 จากนั้นก็จบมศ. 5 โดยใช้เวลาเพียงแค่ 15 เดือนก็สามารถนำผ่านมาได้ 5 ระดับชั้นตอนแรกนึกว่าจะเลิก

แต่ถ้าเรียนไม่จบก็ทำงานไม่ได้จนกระทั่งได้มีโอกาสและสอบ Entrance จนสามารถสอบติดมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ได้เป็นที่สำเร็จและได้ระหว่างเรียนก็ทำงานหาเงินไปด้วยแต่ก็ไม่ทำเป็นหลักเป็นแหล่ง

ซึ่งที่ไหนมีให้ทำก็ทำบางครั้งก็เล่นดนตรีเพื่อหารายได้ เมื่อจบคณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยจุฬาก็ได้ไปสอบข้าราชการตามปกติหลังจากที่ 2 เขาก็สามารถสอบสิทธิ์และได้เข้ามาทำงานในหน้าที่เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

ของกระทรวงมหาดไทยและทำอยู่ตรงนี้ได้ประมาณ 8-9 ปีจนกระทั่งมีโอกาสได้มาสอบเป็นปลัดอำเภอจนกระทั่งแต่ต้องมาเป็นรองผู้ว่าและกระทั่งและเป็นผู้ว่าในหลายจังหวัด

โดยดร.ปรีชา สามารถเรียนจบปริญญาตรี พ.ศ. 2518 รัฐศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท พ.ศ. 2522 รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ปริญญาเอก พ.ศ. 2548 Doctor of Organization and Transformation (DODT), CEBU Doctors University, Philippines

ซึ่งตัวเขานั้นไม่เคยฝันถึงอาชีพข้าราชการเลยเพราะตอนนั้นตัวเขาคิดว่าอยู่บ้านนอกคอกนาไม่คิดว่าจะมีโอกาสที่ได้ทำอาชีพดังนี้ โดยตัวเขาก็ยังได้เล่าอีกว่าตอนที่ทำข้าราชการนั้นตัวเขาก็เจออุปสรรคต่างๆมากมาย

ทั้งปัญหามากมายซึ่งชีวิตของข้าราชการนั้นจะต้องมีความแข็งแรงและความอดทนพอควรตอนที่ไปเป็นปลัดอำเภออยู่นั้นก็ไปดูเรื่องที่ดินสาธารณะเป็นหมื่นๆที่จังหวัดนครสวรรค์ซึ่งเมื่อก่อนนั้นมีการบุกรุกที่กัน

ออกจากข้าราชการก็ได้ใช้ชีวิตโดยยึดอาชีพเป็นเกษตรกรเพื่อหาความสุขในช่วงบั้นปลายชีวิตและใครหลายคนก็ต่างต้องงงเพราะว่ามีข้าราชการระดับสูงหลายคนนั้นไม่เคยมีใครเกษียณข้าราชการแล้วมาทำเกษตร

ยกเว้นคนๆนี้ซึ่งตัวเขาเองก็ได้บอกว่าตัวเขาเป็นลูกชาวนาก็แค่กลับมาทำนาก็ไม่ใช่เรื่องแปลกอะไรโดยตอนนี้เขาจะใช้ชีวิตอยู่กับภรรยาสองคนช่วยดูแลที่ดินประมาณ 20 ไร่ซึ่งที่ดินของเขาก็แบ่งออกเป็น 4 โซนนั่นก็คือ

1 ป่าปล่อย ในหลวงสอนว่าไม่ต้องทำอะไร ปล่อยเฉยๆ ก็เป็นป่ามีต้นหวาย เห็ดโคน
2 ป่าปลูก เช่น ปลูกไม้สัก ไม้ยาง ไม้ชิงชัน
3 ไม้ดอกไม้ประดับ ชอบพวกไม้หอม ดอกลำดวน ดอกไม้อื่นๆ
4 ไม้แดก (ไม้กินได้) กล้วยหอม กล้วยไข่ ส้ม ฝรั่ง มะละกอ ฯลฯ

“การทำอาชีพเกษตร ห้ามคิดรวย ถ้าคิดก็จนตั้งแต่แรกคิดแล้ว ที่เราทำ เรายึดหลัก “ความสุข” ความสุขของผมคือแบบนี้ ทำแล้วไม่เดือดร้อนใคร ไม่เดือดร้อนครอบครัว ไม่เดือดร้อนสังคม ไม่เดือดร้อนประเทศชาติ

ได้ทำสิ่งที่รักก็มีความสุขแล้ว” ดร.ปรีชา กล่าวทิ้งท้าย… โดยดร. พิชายก็ได้มีการเปิดเผยว่าชีวิตของเขาจะใช้หลักการเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งจะต้องสำรวจตัวเองว่าตัวเองนั้นถนัดอะไรและใจรักอะไร

แต่ชอบอะไรซึ่งหลักเศรษฐกิจพอเพียงนั้นจะทำได้จริงหรือไม่นั้นก็ขึ้นอยู่กับตัวเราและหลักเศรษฐกิจพอเพียงนั้นจริงๆก็คือการลงมือทำและการใช้ชีวิตอย่างพอเพียง

1 ทำอะไรที่ตัวเราไม่เดือดร้อนก็ทำไป
2 ทำในสิ่งที่ครอบครัวเราไม่เดือดร้อนก็ทำไป
3 ทำที่คนข้างเคียงไม่เดือดร้อนก็ทำไป และ

4 สังคมไม่เดือดร้อนก็ทำไป คนที่ไม่ทำไม่ผิด เราลงมือทำ ทำผิดไม่ดีก็แก้ไข ความสำเร็จต้องลงทำ ความรู้อย่างเดียวไม่สามารถบ่งบอกได้ว่าจะประสบความสำเร็จ ความมุ่งมั่น ตั้งใจและลงมือทำคือสิ่งที่จะบ่งบอกได้

Facebook Comments Box