โดยกฎหมายแล้ว ผู้ที่สามารถติดต่อขอปิดบัญชีได้ คือ “ผู้จัดการมรดก” ตามที่พินัยก ร ร มระบุไว้ แต่หากไม่มีพินัยก ร ร มหรือไม่ได้ระบุชื่อในพินัยก ร ร ม ทาย าทจะต้องทำเ รื่ อ งร้องขอให้ศาลแต่งตั้งผู้จัดการม ร ด ก เสี ยก่อน ซึ่งใช้เวลาประมาณหนึ่งถึงสองเดือน
หลังจากนั้นผู้จัดการม ร ด ก ก็จะสามารถติดต่อสถาบันการ เ งิ น เพื่อปิดบัญชีได้เราเจอบทความหนึ่ง เป็นของสมาชิกผู้ใช้พันทิป ชื่อ พ่อขวัญเอย เล่าว่าแ ช ร์ประสบการณ์ ปิดบัญชี Bank ของผู้ล่วงลับกับ Bank สีเขียว หลังจากได้รับแต่งตั้งเป็นผู้จัดการม ร ด ก เพื่อจะได้นำ เ งิ น มาจัดการแบ่งให้ทาย าท ผมวิ่งรอกไปมากับ Bank สีเขียวหลายเที่ยวเพื่อปิดบัญชี จนต้องขอเอกสารจาก Bank ว่าต้องใช้หลักฐานอะไรบ้าง ซึ่งทางเจ้าหน้าที่ สนง. บอกว่าให้ไม่ได้นะครับ
ผมไม่เข้าใจเหมือนกันว่าทำไม เพราะเป็นเ รื่ อ งที่ลูกค้าน่าจะรู้ก่อนมาติดต่อกับ Bank แต่โชคดีที่คุยกับผู้จัดการสาขาเข้าใจ เลยอ ย า กนำมาแ ช ร์ให้ทุกคนได้รู้กันครับว่าต้องเตรียมหลักฐานอะไรบ้าง ถ้าต้องปิดบัญชีของผู้ล่วงลับกับ Bank สีเขียว

เอกสารประกอบการขอรับมรดก เ งิ น ฝากของผู้วายชนม์ Bank สีเขียว
กรณีมีคำสั่งศาลแต่งตั้งผู้จัดการมรดกมาแสดง
1สำเนาคำสั่งศาลแต่งตั้งผู้จัดการมรดก
2สำเนาหนังสือรับรองคดีถึงที่สุด
3สำเนาใบม ร ณ ะ บัตร
4สำเนาบัตรประจำตัว ปชช. ของผู้จัดการมรดก(หรือสำเนา Passport กรณีผู้จัดการมรดกเป็นชาวต่างชาติ)
5หนังสือทาย าทขอรับมรดก(E05093-4-12)
6ใบรับ เ งิ น
7สมุด เ งิ น ฝากทุกประเภทของผู้วายชนม์(ถ้ามี)
หมายเหตุ
หนังสือรับรองคดีถึงที่สุดจะขอจากศาลได้หลังจากคำสั่งศาลแต่งตั้งผู้จัดการมรดกแล้ว 30 วัน
รายการ 5และ6 ทาง Bank มีให้กรอก
ต้องนำเอกสารตัวจริงไปแสดงด้วยนะครับ
กรณีไม่มีคำสั่งศ า ลแต่งตั้งผู้จัดการม ร ด ก มาแสดง

1สำเนาใบ ม ร ณ ะ บัตร
2สำเนาบัตรประจำตัว ปชช. และสำเนาทะเบียนบ้านของทาย าททุกคน ผู้มาขอรับ เ งิ น
3หนังสือทาย าทขอรับม ร ด ก (E05093-4-12)
4หนังสือสัญญาค้ำประกัน
5สำเนาบัตรประจำตัว ปชช. และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ค้ำประกัน
6หนังสือยินยอมจากคู่สมรสของผู้ค้ำประกัน (ในกรณีที่ผู้ค้ำประกันสมรสแล้ว)
7ใบรับ เ งิ น
8ใบสำคัญการจดทะเบียนสมรสของผู้วายชนม์(ถ้ามี)
9สมุด เ งิ น ฝากทุกประเภทของผู้ว า ยชนม์(ถ้ามี)
จะเห็นว่าเอกสารที่ Bank สีเขียวต้องการมีเยอะมาก ปกป้องเ รื่ อ งยุ่งที่ Bank อาจจะต้องเจอภายหลังอ ย่ า งเต็มที่
จากประส บการณ์ที่ผมดำเนินการปิดบัญชีกับ Bank สีเขียวอ ย า กเล่าให้ฟังดังนี้
เมื่อได้รับคำสั่งแต่งตั้งเป็นผู้จัดการม ร ด ก แล้วให้นำหลักฐานที่มีไปยื่นต่อสาขาที่จะปิดบัญชี
ทางสาขาจะส่งเ รื่ อ งให้ สนง. ดำเนินการอาจใช้เวลาสัก 1-2 อาทิตย์
จะมี จม.แจ้งจาก สนง. ให้ไปติดต่อที่สาขาเพื่อเบิก เ งิ น ได้ (แต่ผมรอถึง 3 อาทิตย์ ไม่มี จม.มา จึงไปตามเ รื่ อ งที่สาขา น้อง พนง. โทรไปตามเ รื่ อ งที่ สนง. แต่ไม่มีคนรับสายเป็นชั่ วโมง จนต้องให้ผมกลับมารอฟังข่าวที่บ้าน และน้องแจ้งตามมาว่า จม.ลงทะเบียนส่งมานานแล้ว เมื่อถามถึงเ ล ขทะเบียนเพื่อเช็คกับไปรษณีย์ คำตอบคือ ไม่มีครับ ถ้าโชคดีได้รับ จม. และครบกำหนด 30 วันหลังจากได้รับคำสั่งแต่งตั้งเป็นผู้จัดการมรดกแล้ว ให้ไปขอหนังสือรับรองคดีถึงที่สุดจากศาล ก่อนไปปิดบัญชีที่สาขา

ในกรณีที่อ ย า กได้เร็วหรือไม่อ ย า กไปศาลเพื่อขอหนังสือรับรองคดีถึงที่สุด Bank แจ้งว่าสามารถพาบุคคลที่น่าเชื่อถือเพื่อไปรับรองการปิดบัญชีได้ อันนี้เป็นประสบการณ์กับกสิกรนะครับ บาง Bank ก็อาจจะต้องการหลักฐานมากหรือน้อยกว่านี้ เช่น Bank กรุงศรีอยุธย า ระบุไว้ดังนี้
ผมปิดบัญชีเรียบร้อยแล้วครับ โดยได้รับค ว า มร่วมมือจากสาขาเป็นอ ย่ า งดี แต่เห็นว่าขั้นตอนและระเบียบที่ออกโดย Bank กสิกรสร้างค ว า มยุ่ งย า กแก่ลูกค้ามาก เมื่อเทียบกับ Bank อื่น ไม่ว่าจะมี เ งิ น ในบัญชี ร้อยหรือพันบาท ก็ต้องเสียเวลาส่งเ รื่ อ งเข้า สนง. ปิดบัญชีเสร็จยังจ่ายเป็นแคชเชียร์เช็คอีกตะหาก ต้องเสียเวลาไปเข้าบัญชีอีก พนง. บอกว่าจะได้มีหลักฐานการรับ เ งิ น (เดี๋ยวนะ ใบรับ เ งิ น ยังไม่พออีกรึ)
โดยสรุปแล้ว เราขอแนะนำว่า วิธีการที่ดีที่สุดคือการทำพินัยก ร ร มไว้ก่อน เพื่อจะได้ไม่ต้องเป็นภาระของทาย าทในการดำเนินการภายหลัง ซึ่งการทำพินัยก ร ร มนั้นไม่ได้หมายค ว า มว่าเป็นการแช่งตัวเอง แต่หากมองตามหลักเหตุและผล การทำพินัยก ร ร มนั้นถือเป็นการวางแผนการ เ งิ น ที่รอบคอบมากกว่า
ปล. ข้อมูลจากผุ้เล่าเ รื่ อ งและเพิ่มเติมเนื้อหาบางส่วนเพื่อค ว า มเข้าใจมากขึ้น หากผิ ดพ ล าดประการใด ต้องขออภั ยไว้ ณ โอกาสนี้ ศึกษาไว้เป็นกรณีเผื่อ ตั ดสินใจ ส่วนหากต้องการดำเนินการจริง โปรดติดต่อธนาคารด้วยตนเอง
ปริมาณของ “ความสุข” ไม่ได้ขึ้นอยู่กับจำนวนของ “สิ่งดี ๆ” ที่เราได้รับ แต่อยู่ที่ “มุมมอง” ของเราที่มีต่อ “สิ่งเหล่านั้น” ต่างหาก
ขอบคุณ parinyacheewit