“พระครูวิมลปัญญาคุณ” พระนักพัฒนา เจ้าอาวาสวัดป่าศรีแสงธรรม ผู้ก่อตั้ง โรงเรียนเสียดายแดด
วันนี้เราจะมาติดตามเรื่องราวของ พระครูวิมลปัญญาคุณ เจ้าอาวาสวัดป่าศรีแสงธรรม อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี หรือหลายคนเรียกท่านว่า พระอาจารย์ เดิมทีท่านพระครูเป็นคน อ.กันทรารมย์ จ.ศรีสะเกษ ครอบครัวมีปัญหาทำให้ท่านออกจากโรงเรียนตั้งแต่เด็ก

ปัจจุบันกระแสรักสิ่งแวดล้อมและการหันมาหาพลังงานทดแทนกลายเป็นเรื่องที่คนทั่วโลกให้ความ
สนใจ โดยเฉพาะกระแสการใช้ “พลังงานแสงอาทิตย์” ซึ่งเป็นหนึ่งในแหล่งพลังงานหมุนเวียนที่ไม่มีวันหมด
และเป็นแหล่งพลังงานที่ใหญ่ที่สุดของมนุษย์
พลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานจากธรรมชาติที่เราสามารถนำมาใช้ได้อย่างเท่าเทียมกัน ใน
อดีตหลายคนอาจมองข้ามการนำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้เพราะเห็นว่ามีต้นทุนสูง คิดว่าไม่คุ้มค่ากับการ
ลงทุนไปจนถึงความคิดที่ว่าติดตั้งอุปกรณ์หรือแผงโซล่าเซลล์ได้ยาก แต่ในปัจจุบันการใช้พลังงานแสง
อาทิตย์สามารถเข้าถึงได้ง่ายขึ้น ไม่ว่าจะเป็นอาคารบ้านเรือนในเมืองใหญ่หรือแม้แต่บ้านสวน ไร่นา
ก็สามารถใช้พลังงานแสงอาทิตย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เมื่อท่านออกมาใช้ชีวิตบนโลกเพีຍงลำพังจึงทำให้ท่านเริ่มมองสิ่งต่างๆรอบตัวว่าทำไมโลกใบนี้ถึงต้องการแค่ วัตถุนิยม แสวงหาแต่เงิน ไม่มีความสงบสุขที่แท้จริง

เพราะเหตุนี้พระครูวิมลจึงตัดสินใจออกบวชและเริ่มหาคำตอบต่างๆโดยใช้ธรรมะเป็นตัวขัดเกลา โดยท่านพระครูปฏิบัติธรรมอย่างเคร่งครัดที่วัดป่าสุขสมบูรณ์ จ.ร้อยเอ็ด ต่อมาเมื่อท่านจำพรรษาครบ 7 พรรษา จึงมีผู้ใจบุญบริจาคที่ดินที่ อ.โขงเจียม จ.อุบลฯ ท่านจึงถูกย้ายให้มาจำพรรษาที่วัดป่าแสงธรรมเพียงรูปเดียว
ตลอดระยะเวลาที่ท่านจำพรรษาเหล่าญาติโยมก็มีจิตศรัทธาบริจาคปัจจัยให้อย่างเนื่อง ท่านจึงมองปัจจัยทั้งหมดแล้วคิดว่าจะจัดการนำปัจจัยเหล่านี้ไปใช้อะไรให้เกิดประโยชน์แก่สังคมมากที่สุด เลยทำให้เป็นที่มาของโรงเรียนศรีธรรม
โรงเรียนที่จะช่วยสร้างชาติให้เข้มแข็ง โดยโรงเรียนจะเปิดสอนทั้งระดับมัธยมต้นและมัธยมปลาย สายวิทย์-คณิต ในปัจจุบันมีนักเรียนประมาณ 200 คนซึ่งโรงเรียนศรีแสงธรรมจะเน้นหลักการสอนโดยให้นักเรียนได้มีโอกาสลงมือปฏิบัติจริงเพื่อให้วิทยาศาสตร์ใกล้ชิดกับเด็пมากที่สุด เป็นการปลูกว่า เรียนไปได้ใช้จริง
ต่อมาในยุคที่รัฐบาลมีการแจกแผงโซล่าเซลล์ขึ้นพระครูวิมลจึงนำแผงโซล่าเซลล์เข้ามามีส่วนร่วมในการเรียนการสอนในห้องเรียน โดยจะพาเด็пนักเรียนรู้ประโยชน์ของโซล่าและสอนเด็пติดตั้งเพื่อใช้ประโยชน์ในโรงเรียน

จึงเป็นที่มาของคำว่า โรงเรียนเสียดายแดด เพราะโรงเรียนได้นำความรู้ที่ได้จากการศึกษาโซล่าเซลล์มาต่อยอดเป็นพลังงานทดแทนไว้ใช้ในโรงเรียน และสร้างระบบ Smart Farm , รถเข็นนอนนา(สถานีไฟฟ้าเคลื่อน),รถไฟฟ้า Ev Car จากแผงโซล่าเซลล์ เป็นต้น
นอกจากนี้พระอาจารย์ยังพัฒนาพื้นที่โดยรอบโรงเรียนให้เป็นแปลงเกษตรไม่ว่าจะเป็น โครงการปลูกเห็ดเจ็ดชั่วโคตร, การปลูกพืชผักสวนครัว, การปลูกป่ามิยาวากิ (การปลูกป่าแบบยั่งยืน) และยังสร้างบ้านพักครูและอาคารเรียนด้วยดินกับแกลบเป็นลดงบประมาณของโรงเรียนและเป็นการใช้วัสดุธssมชาติมาใช้ประโยชน์ให้สูงที่สุด

พระอาจารย์วิมล ยังย้ำท้ายว่า สิ่งที่พระครูคิดเป็นการรະเบิดจากข้างใน รู้เท่ารู้ทัน รู้เขารู้เรา รู้เหตุรู้ผล รู้ตนรู้ประมาณ รู้การรู้ชุมชน เป็นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ซึ่งทั้งหมดนี้เราสามารถทำได้จริง ปรัชญาจะไม่ใช่แค่ปรัชญา ถ้าหากเราไม่ลงมือทำ
แหล่งที่มา: viralsfeedpro / baansuann.com