หอยเชอรี่ต้มสุกราคาจะสูงขึ้นเป็น กก. ละ 40 บาท เมื่อคำนวณแล้วจะข ายได้เที่ยวละ 70,000- 80,000 บาท อาทิตย์หนึ่งส่งหอยไปข าย 3 เที่ยว ดังนั้นเมื่อคิดรวมแล้วหนึ่งเดือนจะสร้างเงินสร้างร ายได้กว่า 850,000 บาท …ชาวบ้านหนองแคน ต.เหล่าปอแดง อ.เมือง
ข ายหอยเชอรี่ต้มสุก ซึ่งกำลังเป็นที่นิยม และสร้างงานสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนเป็นกอบเป็นกำ ซึ่งก่อนหน้านี้ชาวนาต้องเผชิญกับปัญหาหอยเชอรี่กัดกินต้นข้าวหลังฤดูกาลปักดำทุกปี และจากสถิติพบว่าในแต่ละปีหอยเชอรี่ทำ ล า ยต้นข้าวไปนับพันๆ ไร่

จนชาวนาต้องช่วยกันจับมาทิ้ งทำล ายนานนับสิบปี แต่ปัจจุบันสามารถนำมาข ายสร้างร ายได้เข้าสู่หมู่บ้านเล็กๆ นับแสนบ าทต่อเดือน ซึ่งเนื้อหอยเชอรี่มีโปรตีนสูงถึง 34 – 53 เปอร์เซ็นต์ ไขมัน 1.66 เปอร์เซ็นต์ ใช้ประกอบอาหารได้หลายอย่าง หรือทำน้ำปลาจากเนื้อหอยเชอรี่
ใช้ทำเป็นอาหารสัตว์เลี้ยง เช่น เป็ด ไก่ สุกร เปลือกก็สามารถปรับสภาพความเป็นกรดเป็นด่างของดินได้ ตัวหอยทั้งเปลือกถ้านำไปฝังบริเวณทรงพุ่มไม้ผล เมื่อเน่าเปื่อยก็จะเป็นปุ๋ยทำให้ต้นไม้เจริญเติบโตเร็ว และได้ผลผลิตดี

ที่บ้าน นางเมตตา พรหมแพง อายุ 39 ปี เลขที่ 166 บ้านหนองแคน หมู่ 1 ต.เหล่าปอแดง อ.เมือง จ.สกลนคร ซึ่งประกอบอาชีพคนกลางรับซื้อหอยเชอรี่ต้มจากชาวบ้าน ก่อนนำส่งข ายที่ตลาดไท กล่าวว่า เดิมตนประกอบอาชีพเย็บผ้า จนเมื่อปีที่แล้ว ได้ไปที่ตลาดไท และได้ไปเจอธุรกิจการข ายหอยเชอรี่ต้มสุก
ซึ่งผิดกับบ้านเราที่ชาวนาต้องช่วยกันนำหอยเชอรี่ไปทำล ายทิ้ ง ตนจึงได้ริเริ่มนำธุรกิจดังกล่าวมาทำที่จังหวัดสกลนคร หอยเชอรี่ต้มสุกหั่นเป็นชิ้นถือว่ากำลังเป็นที่ต้องการของตลาดมากขึ้น สามารถนำไปประกอบอาหารได้หลากหลายชนิด โดยเฉพาะอาหารจำพวกส้มตำ ทั้งตำรวม ตำลาว ตำหอยฯ

ปัจจุบัน พร้อมเปิดรับซื้อหอยต้มสุกในราคากิโลกรัมละ 29 บ าท ช่วงนี้จะมีชาวบ้านทั่วทุกอำเภอในจังหวัดสกลนครนำหอยมาข ายเฉลี่ยอย่างต่ำ 600 กก. ต่อวัน ซึ่งต้องจ้ างชาวบ้านในหมู่บ้านมาหั่นหอยต้มสุกวันละ 10 คน ส่วนมากเป็นผู้สูงอายุในหมู่บ้าน ถือเป็นการสร้างงานสร้างร ายได้ให้กับคนในชุมชน
นางเมตตา กล่าวต่อว่า หอยเชอรี่ที่หั่นเสร็จแล้วจะบรรจุเก็บไว้ในถังน้ำแข็งขนาดใหญ่ ประมาณ 2 วัน ก็จะรวบรวมหอยเชอรี่ต้มสุกหันได้ 1.6- 2 ตัน จากนั้นก็ขนส่งลงไปข ายยังตลาดไท ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี เมื่อบวกต้นทุนการขนส่งแล้ว

หอยเชอรี่ต้มสุกราคาจะสูงขึ้นเป็น กก. ละ 40 บ าท เมื่อคำนวณแล้วจะข ายได้เที่ยวละ 70,000- 80,000 บาท อาทิตย์หนึ่งส่งหอยไปข าย 3 เที่ยว ดังนั้นเมื่อคิดรวมแล้วหนึ่งเดือนจะสร้างเงินสร้างร ายได้กว่า 850,000 บาท กระจายสู่ชาวไร่ชาวนาในพื้นที่ ซึ่งร ายได้ส่วนนี้ถือเป็นรายได้เพียงแค่กลุ่มของตนเองเพียงเจ้าเดียวเท่านั้น
หากรวมทุ กเจ้าแล้วจะมีเม็ดเงินเข้าสู่หมู่บ้านหนองแคนหลายล้านบ าทต่อเดือน อย่างไรก็ดี นางเมตตา ก็อยากขอประชาสัมพันธ์ไปยังพี่น้องเกษตรกร ชาวไร่ชาวนาว่าหอยเชอรี่นั้นมีค่ากว่าที่คิด สามารถนำมาข ายเป็นการสร้างร ายเสริมได้
ด้าน นายวีระศักดิ์ ผาพรหม อายุถ 39 ปี บ้านเลขที่ 40 หมู่ 5 บ้านดอนแก้ว ต.ม่วงลาย อ.เมือง จ.สกลนคร กล่าวว่า ตนกับภรรยามีอาชีพทำนา ช่วงนี้เสร็จจากการปักดำนาแล้ว ตนและภรรยาจึงใช้เวลาว่างนี้มาหาหอยเชอรี่ที่กัดกินต้นข้าวในนามาข าย ซึ่งก็สร้างร ายได้อย่างงามเลยทีเดียว ยกตัวอย่างวันนี้ ตนและภรรยาได้ออกไปหาหอยเชอรี่
ที่ทุ่งนา และหนองน้ำใกล้หนองหาร โดยหอยเชอรี่ส่วนมากจะเกาะอยู่ที่ใบผักตบชวา วันนี้หาตั้งแต่เวลา 08.00- 12.00 น. 4 ชั่วโมง หาหอยเชอรี่ได้ 4 กระสอบปุ๋ย เมื่อนำมาต้มและควักหัวหอยออกมาข ายจะสร้างร ายได้ถึง 600 บ าท ถือเป็นรายได้ที่งดงามมากหลังฤดูกาลทำนา
และสามารถหาหอยเชอรี่ข ายได้ตลอดทั้งปี ยิ่งหน้าแล้ง หาหอยเชอรี่ยากขึ้น ราคาก็จะสูงตาม บางปีหอยเชอรี่ต้มสุกราคาอาจสูงถึงกิโลกรัมละ 50 บ าท เลยทีเดียว จากเดิมที่เคยเป็นเพียงแค่ ศัตรูพืชข้าว แต่ในปัจจุบันหอยเชอรี่ นับเป็นสัตว์น้ำที่สร้างร ายได้ให้กับชาวนายโสธรได้เป็นอย่างดี หลังฤดูทำนา มีพ่อค้าแม่ค้าที่ไปรับซื้อถึงในหมู่บ้านในราคากิโลกรัมละ 50 บ าท
ชาวบ้านที่บ้านทรายงาม ตำบลกุดกุง อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร เกือบทุกครัวเรือนได้ใช้เวลาว่างจากการทำนาพากันออกหาเก็บหอยเชอรี่ที่มีอยู่ตามทุ่งนาใกล้กับหมู่บ้านและในช่วงนี้ซึ่งเป็นช่วงฤดูน้ำหลากมักจะมีหอยเชอรี่ที่อาศัยอยู่ตามทุ่งนาเป็นจำนวนมาก

ชาวบ้านจึงได้พากันเก็บหอยเชอรี่ที่มีอยู่นำกลับไปต้มให้สุกก่อนที่จะคัดแยกเอาไส้และลูกตาของหอยเชอรี่ออกเพื่อคัดเอาเฉพาะส่วนหัวของหอยเชอรี่เท่านั้นแล้วจึงนำไปล้างให้สะอาดก่อนที่จะส่งขายให้กับพ่อค้าแม่ค้าที่ไปรับซื้อถึงที่บ้านในราคากิโลกรัมละ 50 บ าท เพื่อเป็นรายได้เสริมเข้าครอบครัวในช่วงว่างเว้นจากการทำนา
โดยชาวบ้านแต่ละคนสามารถหาเก็บหอยเชอรี่ส่งข ายได้คนละไม่ต่ำกว่าวันละ 8-9 กิโลกรัม มีร ายได้เฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 400 บ าท ต่อวัน ส่วนหอยเชอรี่ที่แม่ค้ารับซื้อไปก็จะนำไปส่งข ายต่อให้กับแม่ค้าข ายส้มตำในต่างจังหวัดรวมทั้งในกรุงเทพมหานครด้วย
ซึ่งหอยเชอรี่สามารถนำไปปรุงเป็นอาหารได้หลายเมนูแล้วแต่ความชื่นชอบของแต่ละบุคคล เช่น นำไปรับประทานกับส้มตำ ก้อยหอยเชอรี่ แกงหอยเชอรี่ หรือจะนำไปย่างไฟรับประทานก็ได้
แนวทางควบคุมและกำจัดหอยเชอรี่กระทำได้หลายวิธี เช่น ปล่อยเป็ดลงในท้องนาในช่วงที่น้ำเพิ่งลดใหม่ ๆ เพราะหอยเชอรี่จะฝังตัวอยู่ในดิน บางพื้นที่ใช้กระบวย สวิง ตักช้อนหอยเชอรี่ตัวใหญ่ออก ส่วนหอยเชอรี่ตัวเล็กใช้ตาข่ายที่มีรูถี่ ๆ ขึงกั้นปิดทางน้ำที่จะเข้าสู่แปลงนา
แต่ไม่ต้องกังวลใจไป เพราะเราสามารถนำหอยเชอรี่มาบดให้ละเอียดเพื่อทำปุ๋ยอินทรีย์และหมักให้ได้คุณภาพใกล้เคียงกับปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้จากซากพืชซากสัตว์ หรืออาจนำมาเป็นอาหารสัตว์ด้วยการเอาหอยเชอรี่มาต้มให้สุกแล้วแยกเนื้อแยกเปลือก โดยเนื้อหอยเชอรี่นั้นนำมาบดไปเป็นอาหารสัตว์ปีก
เช่น ไก่ไข่ ไก่เนื้อ นกกระทา และเป็ดได้เพราะเนื้อหอยมีโปรตีนสูงถึง 46 – 48% และมีพลังงานประมาณ 3,500 – 3,800 กิโลแคลอรี่ต่อกิโลกรัมเลยทีเดียว แม้ว่าหอยเชอรี่จะเป็นศัตรูพืชที่ทำความเสียหายแก่นาข้าว แต่เราสามารถใช้ประโยชน์จากหอยเชอรี่อีกได้มากมาย อาทิ ทำเป็นน้ำปลา หรือนำมาทำอาหาร แต่มีข้อแม้ว่าต้องมั่นใจว่าหอยเชอรี่นั้นสะอาดและห่างไกลสารเคมีจริง ๆ