น่าอ่าน

“น้องโอปอ”ป่ ว ยม ะ เ ร็ ง ดูแลยายอั มพ ฤ กษ์ อยากให้ยายหายป่ ว ย-เดินได้อีกครั้ง!

กลับมาพบเจอกันอีกแล้ว ก่อนอื่นแอดมินและทีมงานเพจเกษตรกับธรรมะ ก็ขอขอบคุณที่ท่านผู้อ่านยังคงติดตามผลงานของเรามาตลอด เราจะคอยสรรหานำเสนอเรื่องราวดีๆ ให้ความใจโลงใจและมีประโยชน์แก่แฟนเพจทั้งหลายให้ท่านได้อ่านเรื่อยๆนะคะ ก่อนที่เราจะไปอ่านเรื่องราวในวันนี้  แอดมินและทางทีมงานขออวยพรให้ท่านแฟนเพจมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีแต่สิ่งดีๆเข้ามาในชีวิตด้วยนะคะ

วันนี้ พาคุณผู้ชมไปสัมผัสชีวิตของ “ป้านพวรรณ” ที่ถูกโ ร คภัยเล่นงาน จนป่ ว ยอั มพ ฤ กษ์ติ ดเตี ยง ขณะที่หลานสาววัย 10 ขวบ ก็ป่ ว ยด้วยโ ร คม ะเ ร็ ง ด้านสามีป้านพวรรณยืนยันจะเป็นเสาหลักหาเงินดูแล-รั กษ า ทั้งภรรยาและหลาน ไม่ทิ้ งไปไหนแน่นอน

ณ บ้านไม้เก่าๆ หลังหนึ่ง ซึ่งตั้งอยู่บนน้ำครำภายในซอยแบริ่ง 48 ต.สำโรงเหนือ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ มีครอบครัวที่น่าส งส ารพักอยู่ 4 ชีวิต ป้านพวรรณ สอนเครือ กับวัย 50 ที่ถูกหลายโ ร ครุ มเร้า จนอยู่ในภาวะอัมพฤกษ์ ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ขณะที่หลานสาวก็ถูกคุ กค ามด้วยโ ร คร้ ายอย่างม ะ เ ร็ ง สามีป้านพวรรณจึงต้องเป็นกำลังหลักในการหาเลี้ยงครอบครัว ควบคู่กับการดูแลภรรยาที่อยู่ด้วยกันมา 30 ปี ขณะที่หลานสาวอย่างน้องโอปอ แม้ตนเองก็ป่ ว ย แต่ยังพยายามช่วยดูแลยายเท่าที่ตนเองจะสามารถทำได้ เพราะอยากให้ยายห ายป่ ว ยและเดินได้อีกครั้ง

ก่อนจะอยู่ในสภาพติดเตียงเช่นวันนี้ ป้านพวรรณเคยมีชีวิตเช่นคนอื่นทั่วไป ทำงานแม่บ้านแถวสาธร กทม.แต่ร ายได้ไม่พอร ายจ่าย จึงดิ้ นรนไปทำงานไกลถึงภูเก็ต …แต่แล้ววันหนึ่ง มีปัญหาสุขภาพ จึงต้องเข้ามารั ก ษ าตัวที่ กทม.เพราะสู้ค่ารั ก ษ าที่ภูเก็ตไม่ไหว

“วันแรกเป็นที่ตาก่อน คล้ายเหมือนมีอะไรขวางตา วันสองก็หนักขึ้น วันสามก็หนักขึ้น ถึงวันที่เจ็ด ตาซ้ายมองไม่เห็นเลย”หลังรั ก ษ าตัวจนห ายเป็นปกติ ป้านพวรรณจึงตั้งใจกลับไปทำงานที่ภูเก็ตอีกครั้ง แต่ฝันสลาย เพราะนายจ้ างไม่ต้องการเธอแล้ว

“ทางโน้นไม่เอาเราแล้ว เขาให้เราออกจากงานเลย (ถาม-เพราะอะไร?) ไม่รู้เหมือนกัน เพราะเราลงมาหาหมอนี่แหละ (ถามตอนนั้นเราคิดไหมว่า เราจะทำอย่างไรต่อ?) คิดว่า เดี๋ยวก็คงหางานใน กทม.ทำได้ เพราะงานแม่บ้านทำตรงไหนก็ได้ และอีกอย่างเราก็ค้าข า ยเป็น (ตอนนั้นมีเงินทุนอยู่) จ้ะ” แต่โชคช ะตาเหมือนไม่เข้าข้าง เพราะปัญห าสุขภาพกลับมาคุกคามเธออีกครั้ง คราวนี้มาหลายโ ร ค และเปลี่ยนชีวิตเธอให้ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป

“(ถาม-อาการป่ ว ยเป็นได้อย่างไร?) เป็นตุ่มขึ้นหัวไหล่ ไปหาหมอ หมอบอกว่า เป็นงูส วั ด ไขกระดูกทั บเส้ นประส าท และกล้ ามเนื้ออ่ อนแรง แต่รั ก ษ า ก็เดินได้ เลี้ยงหลานส่งหลานไปโรงเรียนตามปกติ พอมาปี 59 กลางปี เหมือนเราปัสสาวะไม่ออก ไปหาหมอ หมอบอกว่าติ ดเชื้อทางเดินปัสสาวะ พอรั ก ษ าไป บอกว่าเราเป็นโ ร คลมชัก ให้ยาโ ร คลมชักมากินอีก (ถาม-จากงูสวั ด มาติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ มาบวกเป็นลมชัก?) และให้ยามากินประจำ ก็ระบุว่าเป็นโ ร คพุ่ มพ วง (ถาม-มีโ ร คพุ่ มพ วงขึ้นมาอีกโ ร คหนึ่ง แล้วอยู่ดีๆ ทำไมมีผลให้เราเดินไม่ได้ นอนติ ดเตียงเป็นอั มพฤ กษ์อย่างนี้?) ระบุอย่างเดียว เป็นไขกระดูกทับเส้นประส าท (ถาม-หมดกัน ชีวิตที่วางแผนที่วาดฝันเอาไว้?) ใช่”

ไม่ใช่แค่ป้านพวรรณเท่านั้นที่ป่ ว ย ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ แต่หลานสาววัย 10 ขวบ “วิศรุตรา เหมือนจีน” หรือน้องโอปอ ก็น่าส งส ารเช่นกัน เพราะป่ ว ยด้วยโ ร คร้ ายที่ไม่มีใครอยากเป็น

“(ถาม-น้องรู้ไหมตอนนี้เราเป็นอะไรอยู่?) เป็นม ะ เ ร็ งเม็ดเลือดขาว (ถาม-กลัวไหม?) ไม่ เพราะหมอบอกว่ามันไม่มีระยะ มันอาจจะมีสิทธิ์ห าย เพราะมันเคยห ายไปแล้ว แล้วก็กลับมาเป็นใหม่ เพราะเป็นไข้เลือดออก พอไปโรงพยาบาลปู่เจ้าฯ หมอบอกว่า เป็นไข้เลือดออก แต่ห ายแล้ว และไม่สบาย ก็เลยไปโรงพยาบาลเด็ก พอไป หมอบอกว่า มันกลับมาเป็นใหม่”

“น้องโอปอ” เข้าโรงพยาบาลรั ก ษ าตัวแต่ละครั้ง ต้องแอดมิดหลายวัน บางครั้งนานเป็นเดือน “ไปหาหมอ น้องให้คีโ ม แล้วน้องก็จะผอม มันปวด ต้องไปเจ าะเลื อด เจ าะไขสั นหลัง ถ้าเกล็ดเลือดไม่ดี เขาก็ให้เลื อดให้น้ำเกลือ ต้องนอนโรงพยาบาล ไปนอนทีก็ครึ่งเดือน บางทีเป็นเดือน เพราะถ้าอาการไม่ค่อยดี เขาต้องนอนนาน ถ้าอาการดี ก็ครึ่งเดือน กลับมาบ้าน 2-3 วันก็ไปอีก ไปหาหมออีก (ถามไปให้คีโ ม กลับมามีอาการอย่างไรบ้าง?) หงุ ดหงิ ด เขาจะร้ อน” ป้านพวรรณ สอนเครือ ป่ ว ยอัมพฤกษ์ พูดถึงการรั ก ษ าตัวของหลาน

“มันเจ็บ และถ้าฉีดยานอนหลับ หนูไม่หลับ หนูจะโว ยว าย ไม่รู้เป็นเพราะยาหรืออะไร แม่เลยไม่ให้ฉีด แต่ให้ยาชาที่หลังแทน (ถาม-แล้วเจ็บไหม?) เจ็บ แต่ยายบอกว่าต้องอดทน ไม่อย่างนั้นไม่ห าย (ถาม-เจ็บแบบร้องไห้เลยไหม?) ร้องไห้ กรี๊ดทั้งโรงพยาบาล มันเหมือนมีอะไรมาทิ่มหลังเจ็บๆ” น้องโอปอฉายภาพความเจ็บระหว่างรั ก ษ าตัว

ใครได้เห็นหลังเท้าของน้องโอปอ อาจสงสัยว่าไปโดนอะไรมา น้องบอกว่า ระหว่างรั ก ษ า หมอให้น้ำเกลือไม่เข้าเส้น จึงเกิดอาการบวม ดำคล้ำ และทิ้ งรอยแผ ลเป็นขนาดใหญ่ให้ดูต่างหน้าจนถึงวันนี้ แม้จะไม่เจ็บแล้วก็ตาม

“(ถาม-เห็นยายนอนอย่างนี้ สงสารยายไหม?) สงสาร (ถาม-เรารู้ไหมว่ายายเป็นอะไร?) ไม่รู้ แต่ยายเคยบอกว่า ไขกระดูกทับเส้นประส าท แล้วก็เดินไม่ได้ (ถาม-ยายก็ป่ ว ย เราก็เป็นม ะ เ ร็ ง ต้องมาดูแลกัน เราเหนื่อยไหม?) ก็เหนื่อย (ถาม-เหนื่อยแล้วทำไมต้องทำ?) ก็อยากให้ยายห าย”

ขณะที่ ธงชัย พุทธบุตร สามีป้านพวรรณ ยืนยัน จะดูแลกันไป ยังไงก็ไม่ทิ้ ง “ก่อนนี้ทำงานซับของนิสสัน ส่วนผลิต ไม่มีใครดูแฟน ผมก็ต้องออกมาหารับจ้ างข้างบ้าน พอดูแลเขา ได้เงินก็หลานไปรั ก ษ าตัวบ้าง ไปโรงพยาบาล ค่ารถ แฟนก็ต้องมีค่ารถแท็กซี่ไปหาหมอ กายภาพทุ กอาทิตย์ เมื่อก่อนอาทิตย์ละ 2 ครั้ง เดี๋ยวนี้อาทิตย์ละครั้ง หลานก็ลำบ ากอยู่ ต้องไปโรงพยาบาลโน่น ราชวิถี ก็ต้องหายืมเขาบ้าง รับจ้ างเขาบ้าง ได้บ้างไม่ได้บ้าง ต้องดูแลกันไป รั ก ษ ากันไป เราอยู่ด้วยกันมาแล้ว ไม่ทิ้ ง ยังไงก็ไม่ทิ้ ง”

ป้านพวรรณ ยอมรับ เคยท้ อ เครี ยด ถึงขั้นไม่อยากมีชีวิตอยู่ เพราะไม่อยากเป็นภาระให้สามีและหลาน“(ถาม-เห็นบอกเคยคิดสั้นทำไมคิดอย่างนั้น?) ส งส ารครอบครัว อยู่เป็นภาระเขา ภ าร ะลูกด้วย ภ าร ะพ่อด้วย ถ้านั่งได้ คงไม่คิดว่าตัวเองเป็นภ าร ะ ถ้าเราไป จะได้ไม่เป็นตัวถ่ วง เขาจะไปทำงานหรืออะไรก็ได้ (ถาม-แล้วแม่อยู่ได้ทุ กวันนี้เพราะอะไร?) เพราะลูกหลานให้กำลังใจ (ถาม-เคยคิดไหมมีคนลำบ ากกว่าเราอีก?) คิด แต่เราก็ลำบ ากกว่าเขา เราช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ที่ดูๆ มา คนอื่นยังช่วยเหลือตัวเองได้ เราก็อิจฉาเขานะ เขายังช่วยเหลือตัวเองได้ นั่งได้ ถ้าเรานั่งได้ก็ภูมิใจ พลิกตัวเองไม่ได้ (ถาม-ความหวังคือนั่งได้?) นั่งได้ ประคองตัวเองได้ ก็ดีใจ”

“อยากให้เขาห ายเหลือเกิน อยากให้ช่วยเหลือตัวเองได้” สามีป้านพวรรณ อยากให้ความหวังของภรรยาเป็นจริง “อยากให้มีคนช่วยพายายไปรั ก ษ า หนูอยากให้ยายเดินได้” โอปอ ก็อยากให้ยายห ายป่ ว ยและเดินได้เหมือนเดิมเช่นกัน

หากท่านใดต้องการช่วยเหลือครอบครัวป้านพวรรณ สามารถโอนเงินไปได้ที่ ธนาคารกรุงไทย สาขาศรีนครินทร์ กม.14 ชื่อบัญชี น.ส.นพวรรณ สอนเครือ หรือ น.ส.ทัศนีย์ พุทธบุตร เลขที่บัญชี 253-0-20959-6 ติดตามรับชมรายการ ฅนจริงใจไม่ท้อ ได้ ทุกวันเสาร์ เวลา 09.00-10.00 น. ทางสถานีโทรทัศน์ NEWS1 ( IPM ช่อง 64 / PSI ช่อง 211 )

รับชมรายการย้อนหลังได้ที่เพจ ฅนจริงใจไม่ท้อ  เรียบเรียงโดย เพจเกษตรกับธรรมะ

Facebook Comments Box
สวัสดี