เกษตรน่ารู้

จ ากคนต กง าน หันมาทำเกษตร ข ายจ นมีร ายได้วันละ 3,000 บ าท

ยุคเศรษฐกิจไม่ดีบริษัทต่าง ๆ ก็ต่างกันพากันยุบแผนกที่คิดว่าไม่จำเป็นลง คนเหล่านั้นก็ต่างพากันต กง านไปตาม ๆ กัน เพื่อลดจำนวนพนักงานคือวิธีการลดต้นทุนที่ไม่มีใครอยากเห็นแต่เมื่อถึงคราวจำเป็นก็คงหลีกเลี่ยงไม่ได้

จากคนต กง าน หันมาเช่าที่ 100 ตรว. “ไม่น่าเชื่อว่าทำเกษตร” จะทำให้มีร ายได้วันละ 3,000 บ าท แต่อย่าลืมนะ.. ว่าชีวิตก็ต้องดิ้นรนกันต่อไปถ้าหากยังมีลมหายใจ

วันนี้จะพามาดูเรื่องราวดี ๆ ของผู้หญิงคนนี้ คุณเอีย – อารีย์ เพ็งสุทธิ์วัย 46 ปีคือหนึ่งใน“มนุษย์ออฟฟิศ” แห่งยุคที่มีอันต้องถูกเลิกจ้างจากตำแหน่ง ผู้บริหารระดับผู้ช่วยผู้อำนวยการแผนกคอร์ปอเรตมาร์เก็ตติ้ง

ของบริษัทประกันในเครือธนาคารใหญ่แห่งหนึ่ง ซึ่งช่วงเวลานั้นเธอมีร ายรับเป็นเงิ นเดือนประจำถึง หลักแสนเลยทีเดียว

เมื่อราวต้นปี 2558 ที่ผ่านมา คุณเอีย-อารีย์ เพ็งสุทธิ์ วัย 46 ปี คือหนึ่งใน “มนุษย์ออฟฟิศ” แห่งยุค ที่มีอันต้องถูกเลิกจ้างจากตำแหน่งผู้บริหาร ระดับผู้ช่วยผู้อำนวยการแผนกคอร์ปอเรต มาร์เก็ตติ้ง

ของบริษัทประกันในเครือธนาคารใหญ่แห่งหนึ่ง ซึ่งช่วงเวลานั้นเธอมีร ายรับเป็นเงิ นเดือนประจำถึงหลักแสนบ าทเลยทีเดียว

แรก ๆ ยังไม่รู้จะเริ่มต้นอาชีพอิสระในแบบของตัวเองอย่างไรดีแต่ด้วยความที่มีฝีมือทำอาหารเลยตั้งใจจะทำ “แกงถุง” ไปฝากข ายตามออฟฟิศพรรคพวกที่เคยร่วมงาน และจากนั้นมีเพื่อนรุ่นน้องคนหนึ่งซึ่งชื่นชอบการทำเกษตรเป็นชีวิตจิตใจมาแนะนำให้ทำฟาร์มเห็ด

“ตอนแรกอยากทำผักไฮโดร ฯ เพราะเคยทำงานด้านมาร์เก็ตติ้งมาก่อนรู้จักคนในแวดวงโรงแรมร้านอาหารเยอะถ้าปลูกแล้วทำส่งให้เขาน่าจะได้ประกอบกับเคยไปฟาร์มผักไฮโดรฯเห็นแล้วสวยดีเลยอยากทำบ้างแต่พอศึกษาละเอียดรู้ว่าต้องใช้เงิ นลงทุนสูงพอสมควร”

เมื่อโปรเจ็กต์ผักไฮโดรโปนิกส์ยังไม่ผ่าน คุณเอียจึงทำตามคำแนะนำของเพื่อนรุ่นน้องคนดังว่า หันมาศึกษาวิชาการเพาะเห็ดข าย ตระเวนไปหาความรู้เกี่ยวกับเห็ดทุกรูปแบบ นับแต่ การลงก้อน การรักษาก้อน การปล่อยน้ำ การเก็บ เป็นต้น

“ไม่เคยจับงานด้านเกษตรเลย แม้พื้นเพเป็นคนนครศรีธรรมราช พ่อ-แม่ทำนามาก่อน แต่ท่านให้แต่เรียนหนังสือ โตขึ้นมาหน่อยส่งเข้ากรุงเทพฯ เรียนจบ ทำงานเป็นสาวออฟฟิศมาตลอด ไม่เคยรู้ว่าการเป็นเกษตรกรเริ่มต้นยังไง แต่เมื่ออยากทำ ก็ต้องเรียนรู้จากศูนย์” คุณเอีย เล่ายิ้มๆ

ใช้เวลาไม่นาน จึงมี “วิชาเห็ด” ติดตัว ขั้นต่อไปคือ หาเช่าที่ดินเพื่อสร้างโรงเรือนเพาะเห็ด เพราะบ้านที่อาศัยในรามอินทราของเธอและลูกๆ นั้น เป็นทาวน์โฮมตามสมัยนิยม ซึ่งมีพื้นที่ไม่มากนักแต่จนแล้วจนรอด หาเท่าไหร่หาไม่ได้ ส่วนที่พอจะได้ ก็ราคาแพงจนรับไม่ไหว

“ขับรถตระเวนหาเช่าที่ไปทั่วจนท้อ จำได้วันนั้นจะถอดใจ คิดว่าคงไม่ได้ทำแล้ว แต่ระหว่างทางก่อนถึงบ้านแค่ซอยเดียว เหลือบไปเห็นป้ายประกาศให้เช่าที่ 2 แปลง แปลงละ 100 ตารางวา กับ 200 ตารางวา เลยรีบโทรศัพท์ไปถาม พอทราบเงื่อนไข-ราคา รีบบอกต กลงเดี๋ยวนั้นเลย” คุณเอีย เล่าก่อนหัวเราะร่วน

เจ้าของเรื่องราว เล่าให้ฟังต่อ ที่ดิน 100 ตารางวา ที่อยู่ในซอยคู้บอน 27 แยก 8 ซึ่งเธอทำสัญญาเช่าเป็นเวลา 2 ปีกับเจ้าของที่ดินนั้น ใช้เงิ นมัดจำ 10,000 บ าท ค่าเช่าต่อเดือน 3,000 บ าท หากครบเวลาตามสัญญาแรกแล้ว อาจทำสัญญาใหม่เป็นแบบปีต่อปี

“ตอนปรับหน้าดิน นำขี้วัวมาลงด้วย พอแตงกวา ถั่วฝักยาว เริ่มออก จะมีพวกรา เพลี้ย หนอน มารบกวน วิธีการกำจัดดีที่สุดคือ มือของเรานี่แหละ รูดบ้าง บี้บ้าง ให้มันตาย นี่คือภารกิจทุกๆ เช้าที่ผ่านมา แต่พอเริ่มโตไม่ต้องทำแล้ว รดน้ำตามปกติพอ” คุณเอีย เผยเทคนิคที่ได้รับถ่ายทอดมาจากคุณตา ผู้ช่วยคนสำคัญ

อย่างไรก็ตาม ทั้งเห็ดและพืชผักสวนครัวดังว่า ต้องใช้เวลาระยะหนึ่งถึงจะสามารถเก็บดอกผลออกจำหน่าย ร ายได้จึงอาจขาดช่วง คุณเอียจึงแก้ปัญหาด้วยการปลูก “ต้นอ่อน” ของพืช พวก ผักบุ้ง ทานตะวัน และโตเหมี่ยว เพราะพืชกลุ่มนี้ ใช้เวลาไม่เกิน 7 วัน สามารถเก็บข ายได้แล้ว

ส่วนความรู้เรื่องการเพาะต้นอ่อนนี้ อาศัยจากการอ่านหนังสือและค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต หาว่า ทำกันยังไง ใช้ดินแบบไหน หาซื้อเมล็ดพันธุ์ที่ใดได้บ้าง ช่วงลองผิดลองถูกเสียหายไปสองสามถาด แต่พยายามปรับปรุง จนตัดออกข ายได้หลายชุดแล้ว

ใช้เวลาเพียงไม่กี่เดือน ถึงวันนี้ “เฮย์เดย์ ฟาร์ม” แปลงผักในเมือง ภายใต้การดูแลของคุณเอีย ให้ผลผลิตออกมาแล้วหลากหลาย นับตั้งแต่ เห็ดนางฟ้าภูฏาน ต้นอ่อนผักบุ้ง-ทานตะวัน-โตเหมี่ยว แตงกวา แตงร้าน ถั่วฝักยาว ดอกดาวเรือง ฯลฯ สามารถสร้างร ายได้ให้เป็นระยะ

“ทุกวันศุกร์ผักจะเต็มท้ายรถและห้องโดยสารเลยนะ ช่วงแรกพวกเพื่อนๆ ออฟฟิศที่รู้จัก เขาคงอยากช่วย เลยสั่งซื้อ แต่ระยะหลังยังสั่งกันตลอด แสดงว่าผลผลิตเราข ายได้ด้วยตัวเองแล้ว และคงสะดวกดี มีบริการส่งให้ถึงที่ ของก็มีคุณภาพ” คุณเอีย บอกอย่างนั้น

ธุรกิจ “เฮย์เดย์ฟาร์ม” ของอดีตผู้บริหารบริษัทประกันชีวิตท่านนี้ใช้เงิ นลงทุนประมาณ 100,000 บ าท และกำลังสร้างร ายได้กลับเข้ามาเรื่อยๆทำให้เจ้าของมีกำลังใจและกำลังจะขยายโรงเพาะเห็ดเพิ่มเป็นโรงที่ 3 แล้วด้วย

“ไม่อ ายเลยที่ทุ กวันนี้ต้องมาปลูกเห็ด-ปลูกผักเพราะมีร ายรับเลี้ยงตัวเลี้ยงลูกได้สบายแต่แอบห่วงความรู้สึกของแม่และลูกชายทั้ง2คนเหมือนกันว่าพวกเขาจะรู้สึกยังไง”คุณเอียเผยความในใจส่งท้าย

ก่อนฝากไปยัง “มนุษย์เงิ นเดือน” ที่อาจกำลังต้องเผชิญสถานการณ์เดียวกันกับเธอว่า “ต้องมีสติอยู่กับตัวตลอดเวลาอะไรผ่านมาแล้วให้ผ่านไปและเชื่อมั่นว่าต้องอยู่ให้ได้” เชื่อเถอะว่าคนขยัน ไม่มีวันอด

Facebook Comments Box
สวัสดี