Friday, 19 April 2024

ปลูกมันหวานข าย แทนมันสัมปะหลัง ทำรายได้เดือนละ 2 แสน

อีกหนึ่งพืชผลทางการเกษตรที่น่าสนใจสำหรับใครที่กำลังมองหาการทำเกษตรวันนี้เรามีอีกหนึ่งทางเลือกที่น่าสนใจไม่น้อยมาแนะนำ อย่าง มันหวาน นอกจากจะสีสันสวยงามแถมยังมีรสชายหอมหวานอร่อยและมีประโยชน์ทานได้ทุกเพศทุกวัย

ซึ่งสำหรับในประเทศไทยมีเนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ขยายตัวเพิ่มขึ้นตามลาดับ เนื่องจาก ร า ค า มันสำปะหลังอยู่ในเกณฑ์ดี ภาครัฐมีการดำเนิน โครงการแทรกแซงตลาดมันสำปะหลังอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกษตรกรข ย า ยพื้นท่ีปลูก และการระบ าดของ เพลี้ยแป้งลดลงมาก

รวมถึงเกษตรกรดูแลรักษาดีขึ้น อย่างไรก็ตาม ในปี 2557 มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว 8.43 ล้านไร่ ผลผลิต 30.02 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3.56 ตัน เมื่อเทียบกับปี 2556 ที่มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว 8.66 ล้านไร่ ผลผลิต 30.23 ล้านตัน

และผลผลิตต่อไร่ 3.49 ตัน พบว่า ลดลง 2.61% และ 0.68% ตามลาดับ เนื่องจากเกษตรกรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน ข้าวโพดเลี้ยง สัตว์ และ ยางพารา รวมถึงพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังแซมในสวน ยางพารา

ซึ่งปัจจุบันยางพาราเจริญเติบโตไม่สามารถ ปลูกแซมได้อีก ส่วนผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น 1.98% เนื่องจากเกษตรกรมีการบารุงดูแลรักษาที่ดี ประกอบ กับสภาพอากาศเอื้ออานวยต่อการเจริญเติบโต

มันสำปะหลังเป็นพืชที่ไม่สำจัดอายุการเก็บเกี่ยวแต่ควรเก็บเกี่ยวเมื่ออายุครบ8เดือนขึ้นไปโดยอายุที่เหมาะสมคือ12เดือนไม่ควรเก็บเกี่ยวในช่วงที่มีฝนตกชุกเพราะจะทำให้มีเปอร์เซนต์แป้งต่ำการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังมีกระบวนการดังต่อไปนี้

ใช้มีดตั ดต้นเหนือระดับพื้นดินประมาณ30เซนติเมตรถอนโดยใช้จอบหรือรถแทรกเตอร์ที่มีอุปกรณ์ชุดพ่วงถ้ายเพื่อขุดหัวมันสำปะหลังตัดส่วนหัวมันสำปะหลังออกจากต้นหรือเหง้า

หลังจากที่สถานการณ์มันสำปะหลังในประเทศตกต่ำอย่างหนักมานานหลายปีนายวิวัฒน์ศรีกระสังข์อายุ32ปีเกษตรกรบ้านประชาสันต์หมู่ที่10ต.เสิงสางอ.เสิงสางจ.นครราชสีมาตัดสินใจรื้อไร่มันสำปะหลังของตนเองที่มีอยู่เกือบ50ไร่หันไปปลูกมันเทศแทนมันสำปะหลัง

เนื่องจากมองเห็นว่ามีราคาที่ดีกว่ามันสำปะหลังอีกทั้งยังใช้ระยะเวลาในการเพาะปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวเพียงแค่4เดือนในขณะที่มันสำปะหลังต้องใช้ระยะเวลาในการเก็บเกี่ยวครั้งเดียวต่อปีแต่ก็ยังต้องมาประสบกับปัญหาราคาที่ไม่แน่นอนจึงหันมาทดลองปลูกมันหวานสาย พันธุ์ต่างประเทศซึ่งกำลังเริ่มเป็นที่ต้องการของตลาดและมี ราคาสูงกว่ามันเทศธรรมดาหลาย10เท่าตัว

พร้อมทั้งหาตลาดด้วยตัวเองและใช้โอกาสจากการที่เข้าร่วมโครงการต่างๆของรัฐพัฒนาต่อยอดจนทุกวันนี้สามารถสร้างร ายได้จากการจำหน่ายมันหวานได้เดือนละกว่า 2 แสน บาท นายวิวัฒน์ฯกล่าวว่ามันหวานสาย พั น ธุ์ ต่างประเทศนั้นมีหลากหลายชนิดทั้ง พันธุ์ สีส้มเบนิฮารุกะโอกินาว่าสายน้ำผึ้งอินโดและฮาวาย ราคาก็จะมีเริ่มต้นตั้งแค่กิโลกรัมละ 60บาท ไปจนถึง 350บาท เลยทีเดียว

โดย พันธุ์ ที่มีราคา สูงสุดคือสายพันธุ์ ฮาวายกิโลกรัมละ350บาทขณะที่มันเทศธรรมดาราคา ขณะนี้จะอยู่ที่ประมาณกิโลกรัมละ6–10บาท แต่ราคานี้ก็ถือว่าดีกว่ามันสำปะหลังที่ราคาต กอยู่เพียงกิโลกรัมละหนึ่งบาทเศษเท่านั้น

ในขณะนี้กระแสมันหวานกำลังมาแรงเป็นที่นิยมชื่นชอบในหมู่ลูกค้าผู้ที่รักในสุขภาพจะนิยมรับประทานมากเป็นพิเศษอีกทั้งรสชาติที่หวานหอมจึงทำให้เริ่มมีฐานลูกค้าเพิ่มมากขึ้นซึ่งขณะนี้ตนเองกำลังอยู่ในระหว่างการรวมกลุ่มผู้ผลิตและเจรจากับทางตลาดระดับบนคือในส่วนของห้างสรรพสินค้าและซุปเปอร์มาเก็ตเพื่อต่อยอดการตลาดให้มากยิ่งขึ้นด้วย

มันเทศญี่ปุ่น หรือที่เรามักเรียกกันว่า มันหวานญีปุ่น ผมคิดว่าหลายท่านคงรู้จักกันเป็นอย่างดีแล้ว โดยลักษณะของต้นนั้นมีลักษณะหน้าตาคล้ายกับมันเทศในบ้านเราเปี้ยบเลยก็ว่าได้ครับ แน่นอน วิธีปลูกมันเทศญี่ปุ่นก็แสนง่ายเหมือนกันเลย เอาหละ เรามาลองดู วิธีการปลูกมันเทศญี่ปุ่น สไตล์ชาวญี่ปุ่นจากบทความแปลจาก JA (Japan agricultural Co-operatives) โดยนายสวนกันดีกว่า

เริ่มแรกการคัดเลือกยอดพันธุ์ลักษณะดีมักเป็นข้อได้เปรียบ ลักษณะที่ดีของยอดพันธุ์ตามหลักของ JA บอกไว้ว่าควรมียอดใบประมาณ 6-7 ใบบนเครือ มีสีสันที่เขียวสวยและไม่บอบบาง ก้านเครืออ้วนสมบูรณ์ ยาวประมาณ 25-30 cm ช่วงระหว่างใบต้องไม่เว้นระยะยาวห่างจนเกินไป

ขั้นที่สอง การเตรียมดินและแปลงเพาะปลูก

การขึ้นแปลงจะทำให้เราสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ง่ายกว่าการปลูกลงพื้นดินโดยตรง JA จึงแนะนำให้ขึ้นดินสูงประมาณ 30cm ร่องกว้างระหว่างแปลง 30cm และมีตัวแปรงที่กว้างประมาณ 50cm

เมื่อขึ้นแปลงเสร็จแล้วให้เจาะหลุมกลางแปลงแล้วใส่ปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยคอกลงไปรองพื้นในกรณีที่บ้านเรา อาจจะใช้ปุ๋ยคอกวัว หรือ ปุ๋ยมูลไก่ ก็ได้ผลผลิตที่ดีเช่นกันครับ JA กล่าวไว้ด้วยว่าปุ๋ยที่มี P และ K สูงจะช่วยให้ได้ผลผลิตที่มากขึ้น

ขั้นที่สาม การปลูกยอดพันธุ์มันเทศ ลงดิน

ในการปลูกยอดพันธุ์ลงดินทำได้ 2 วิธี JA แนะนำไว้ว่าในกรณีที่ดินมีความชื้นต่ำ หรือ แห้งง่าย ให้ปลูกแบบนำต้นวางราบดินแล้วกลบได้เลย ส่วนดินที่มีความชื้นคงที่ให้ฝังต้นลงไปให้เหลือแต่ยอดโผล่พ้นดีให้ได้แบบในภาพ

จะทำให้ผลผลิตติดพวงสวยและดีกว่าสภาพภูมิอากาศในประเทศไทยเป็นแบบร้อนชื้น ดังนั้นวิธีการปลูกแบบที่ 2 จึงเหมาะสมกับบ้านเรามากกว่าถือว่าได้เปรียบกว่าญี่ปุ่นที่มีสภาพอากาศแห้งบ้างชื้นบ้างไม่คงที่แบบบ้านเราครับ

ขั้นที่สี่ การดูแลยอดเครือของ มันเทศญี่ปุ่น ระหว่างรอผลผลิต

มันเทศญี่ปุ่น ที่ปลูกไปแล้วกว่า 2 เดือนจะเริ่มยืดยาวเลื้อยลงล่างแปลงปลูกและเริ่มหยั่งรากลงดิน ให้เราถอนเครือที่เลื้อยลงแปลงออก โดยพยายามถอนไม่ให้ต้นขาดนะครับ ทำไมต้องถอนหละ! นั่นก็เพราะว่าต้นที่เลื้อยออกพวกนี้หลังจากหยั่งรากใหม่แล้วรากใหม่นี่หละครับจะกลายเป็นหัวมัน

พอมาถึงจุดนี้หลายคนคง งง ว่ามันก็ดีหนิ ที่จะได้มันเทศเพิ่มขึ้น ใช่แล้วครับ หัวมันเทศที่ได้จะเพิ่มขึ้น แต่จะทำให้คุณภาพของหัวมันเทศที่ได้ลดลง ขนาดอาจจะเล็กหรือความหวานอาจจะลดลง

ทั้งนี้เกิดจากหัวมันเทศที่เกิดใหม่นอกแปลงดึงสารอาหารจากหัวมันเทศหลักที่เราปลูกในแปลงไปนั่นเองครับ พอเริ่มแชร์สารอาหารกันไปมากขึ้นก็จะกลายเป็นว่าความอร่อยที่ควรจะอัดแน่นอยู่ที่เดียวก็เจือจางลงไปอยู่จุดอื่น ๆ แทนนั่นเอง

ขั้นที่ห้า เก็บเกี่ยว หัวมันเทศญี่ปุ่น ที่เราปลูก

นับจากวันที่เราปลูกเพียง 100-120 วัน เราก็สามารถขุด มันเทศญี่ปุ่น ที่เราปลูกมาทานหรือจำหน่ายได้แล้วครับ แรก ๆ ก่อนขุดเราอาจจะเช็คให้มั่นใจสักหน่อยว่ามีหัวมันติดอยู่ไหมด้วยการดึง ๆ ดู ถ้าที่โคนต้นหนัก ๆ

หรือ ถ้าเอามือคุ้ย ๆ ดูตรงโคนแล้วเห็นรากใหญ่ ๆ ก็ใช่หัวมันแน่นอน ก็ถึงเวลาขุดแล้ว บางตำราแนะนำว่าควรปลูกให้มีอายุอย่างน้อย 130-140 วัน ลองประยุคต์ดูกันนะครับ

เพื่อสะดวกและง่ายต่อการขุดเราอาจจะตัดใบตัดเครือทิ้งจนเหลือแต่ตอแล้วจึงขุดหัวมันขึ้นมาครับ แต่ต้องระวังด้วยระหว่างการขุดหากจอบไปถูกหัวมันเข้าอย่างจังคงบอบช้ำหักทำให้รูปร่างไม่สวยงามเสียราคาไปครับ

ข้อควรระวัง
สภาพพื้นที่ปลูกควรดูแลรักษาให้ปราศจากวัชพืช โรคและแมลงอยู่เสมอ ต้นพันธุ์ ที่ใช้ปลูกควรใหม่สดไม่บอบช้ำปราศจาก โรคแมลง และเป็นพันธุ์ที่ไม่ถูกทำลายโดย สารเคมีกำจัดวัชพืช ผลผลิต(หัวสด)

เมื่อเก็บเกี่ยวส่งจำหน่ายไม่ควรมีส่วนของลำต้นและดินปน หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตควรรีบส่งจำหน่ายทันทีไม่ควรทิ้งไว้นานเกิน4วันเพราะจะเน่ าเสียห าย การพ่นสารเคมีกำจัดโรคแมลงและวัชพืชทุกครั้งควรมีการป้องกันให้ถูกวิธี

ขอบคุณแหล่งข้อมูล คู่มือนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร มันสําปะหลัง

Facebook Comments Box
สวัสดี